คณาจารย์

ดร.เมสิริณ ขวัญใจ

Mesirin Kwanjai, Ph.D.

 

การศึกษา
  • พ.ศ. 2561 : Doctor of Philosophy (PhD. Media Culture Heritage), Newcastle University, United Kingdom
  • พ.ศ. 2551 : นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (การสื่อสารมวลชน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย
  • พ.ศ. 2545 : วารสารศาสตรบัณฑิต (วิทยุ-โทรทัศน์) เกียรตินิยมอันดับ 1 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประเทศไทย
ประสบการณ์การทำงานวิชาการ
  • พ.ศ. 2555 : อาจารย์ที่ปรึกษาชมรมศิลปะการละคร ประจำปีการศึกษา 2555
ประสบการณ์การทำงานด้านการบริหาร
  • พ.ศ. 2561 พฤศจิกายน -ปัจจุบัน : ประธานหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต
  • พ.ศ. 2556 - 2557 : ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประชาสัมพันธ์
ประสบการณ์การทำงาน
  • พ.ศ. 2553 มกราคม - ปัจจุบัน : อาจารย์ประจำภาควิชานิเทศศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
  • พ.ศ. 2551 สิงหาคม -  2552 ธันวาคม : อาจารย์ประจำ ณ สถาบันกันตนา, กรุงเทพ
  • พ.ศ. 2550 กรกฎาคม - 2551 สิงหาคม : ผู้ประกาศข่าวทางสถานีวิทยุ Good FM 98.5 เมกกะเฮิร์ทซ์, กรุงเทพ
  • พ.ศ. 2546 มิถุนายน - 2549 ธันวาคม : นักวางแผนสื่อ บริษัท Optimum Media Directions (OMD) Co. Ltd. (Thailand), กรุงเทพ
  • คนเขียนบท (freelance)
  • คนอ่านสปอตโฆษณาวิทยุ
งานวิจัย
  • Mesirin Kwanjai (2018) Transnational TV exposure behaviour of Lao American women in People: International Journal of Social Sciences
  • ธาม เชื้อสถาปนสิริ และ เมสิริณ ขวัญใจ (2554) ถอดบทเรียนการรายงานข่าวชุมนุมทางการเมือง สงคราม หรือ สันติภาพ: ศึกษาจากนักข่าว กองบรรณาธิการ และเนื้อหาข่าว ในช่วงเดือนมีนาคม – เมษายน 2553 จากหนังสือพิมพ์มติชน และไทยรัฐ
เกียรติประวัติ
  • อาจารย์ที่ปรึกษานิสิตที่มีผลงานดีเด่นและสร้างชื่อเสียงให้กับมหาวิทยาลัยนเรศวร ประจำปีการศึกษา 2553
ความเชี่ยวชาญ

ความสัมพันธ์ระหว่างสื่อกับเพศ (Media-Gender Relationship), การศึกษาผู้รับสาร (Audience Studies), พฤติกรรมการเปิดรับสื่อโทรทัศน์ข้ามชาติ (Transnational TV Exposure/Consumption) และละครโทรทัศน์ (Soap Opera)

ความสนใจ

สื่อและวัฒนธรรมศึกษา (Media and Cultural Studies), ความสัมพันธ์ระหว่างสื่อกับเพศ (Media-Gender Relationship),  การบริโภคสื่อ (Media Consumption), การสื่อสารข้ามพรมแดนและข้ามวัฒนธรรม (Cross-Border and Cross-Cultural Communication), สตรีนิยม (Feminism, Post-Feminist), ภาพตัวแทนที่ถูกนำเสนอผ่านสื่อ (Media Representation), การวิเคราะห์ตัวบท (Textual Analysis) และการวิเคราะห์วาทกรรม (Discourse Analysis)