คณาจารย์

ดร.อรวรรณ ศิริสวัสดิ์ อภิชยกุล

Orawan Sirisawat Apichayakul, Ph.D.

 

การศึกษา
  • พ.ศ. 2557 : PhD in Social Sciences (Social Studies), Loughborough University, UK
  • พ.ศ. 2544 : นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวาทวิทยา
  • พ.ศ. 2541 : นิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวาทวิทยา
ประสบการณ์ด้านวิชาการ
  • อาจารย์ประจำ ภาควิชานิเทศศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • อาจารย์ประจำ โปรแกรมวิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
ประสบการณ์การทำงาน
  • ผู้ประสานงานและเจ้าหน้าที่การฝึกอบรม มูลนิธิโลกสีเขียว
  • พนักงานประสานงานฝึกอบรม วิทยาลัยการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
  • ที่ปรึกษาสภาผู้ชมและผู้ฟังรายการไทยพีบีเอส ภาคเหนือ
  • วิทยากรแนวคิดด้านสื่อ การผลิตสื่อกับภาคพลเมืองให้กับสภาผู้ชมและผู้ฟังรายการไทยพีบีเอส ภาคเหนือ
  • คอลัมนิสต์ ‘นักสืบธรรมชาติ’ นิตยสารโลกสีเขียว
  • คณะจัดทำชุดคู่มือนักสืบสายน้ำน้อย มูลนิธิโลกสีเขียว
  • ทีมพี่เลี้ยง และวิทยากรการฝึกอบรมด้านการพูด บุคลิกภาพ และการแสดงออกของเด็กค่าย Superjeew
ผลงานวิจัยและบทความวิชาการ
  • เอกชัย แสงโสดา. อรวรรณ ศิริสวัสดิ์ อภิชยกุล และวัชรพล พุทธรักษา. (2562). พิศกะเทยหลากสี ผ่านทีวีดิจิทัล: การสื่อสารความเป็นกะเทยในรายการโทรทัศน์ยุคดิจิทัลไทย. วารสารศาสตร์ วารสารวิชาการคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2562. หน้า 165-235.
  • Orawan Sirisawat Apichayakul, Alan P. France and John E. Richardson. (2562). ‘The Search of Friendship and More: Camwomen Identity Formation On the ‘Camfrog’ Chatroom Programme.’ วารสารศาสตร์ วารสารวิชาการคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2562. หน้า 242-271.
  • RinruedeePattaradej and Orawan S. Apichayakul. (2018). ‘Logic of Consumption of Thai Women toward International Luxury Jewellery: A Case Study of Pandora.’ International Journal of Multidisciplinary Thought. 01(03): 485-492 ISSN 2156-6992 . Pp.485-492. http://universitypublications.net/ijmt/0703/html/U8K368.xml?fbclid=IwAR2BJdUUB-pK2x0EF_hu_6ZMljqk2_b3qFEoIs_UYVFJprvp3204EQZx2jQ
  • กิตติมา ชาญวิชัย. อรวรรณ ศิริสวัสดิ์ อภิชยกุล และพิพัฒน์ สัสดีแพง. (2561). การบริหารสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยช่อง 11 (NBT) ในยุคทีวีดิจิทัล กรณีศึกษา : เขต 3 จังหวัดเชียงใหม่ และเขต 4 จังหวัดพิษณุโลก. วารสารคณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร. 13(3). กันยายน - ธันวาคม 2561. หน้า 52-62.
  • เอกชัย แสงโสดา. อรวรรณ ศิริสวัสดิ์ อภิชยกุล และวัชรพล พุทธรักษา. (2560) ‘ปฏิบัติการกะเทยไทยยุคดิจิทัล : การสื่อสารต่อสู้ต่อรองความหายของกะเทยไทยผ่านผู้ดำเนินรายการหลักที่เป็นกะเทยทางรายการบนยูทูป.’ เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ (Full paper in Proceedings) การประชุมวิชาการระดับชาติ สังคมความรู้และดิจิทัล ครั้งที่ 3 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. หน้า 301-311.
    http://web.eng.nu.ac.th/WebKDS/download/13-12-60.pdf
  • เอกชัย แสงโสดา. อรวรรณ ศิริสวัสดิ์ อภิชยกุล และวัชรพล พุทธรักษา. (2560). “สถานะองค์ความรู้เรื่องเพศนอกขนบในฐานะกลุ่มคนที่มีสถานะเป็นรองทางสังคม.” เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ (Full paper in Proceedings) การสัมมนาเครือข่ายนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ครั้งที่ 16 คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. http://www.socsci.nu.ac.th/socant2017/downloads/proceeding/053.pdf
  • กิตติมา ชาญวิชัย, พัทธนันท์ เด็ดแก้ว, อรวรรณ ศิริสวัสดิ์ อภิชยกุล และสุพรรัตน์ วัฒนดำรง. (2557). “สถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยช่อง 11: การบริหารจัดการและการทำหน้าที่ของสื่อมวลชน. วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร. 9(2): 5-17
  • วีระวรรณ ยังกิจการ, ศิริพร เสรีกิตติกุล และอรวรรณ ศิริสวัสดิ์ อภิชยกุล. (2549). “การมีส่วนร่วมในการกำหนดรูปแบบ เนื้อหา และวิธีดำเนินงานรายการวิทยุเพื่อชุมชนของจังหวัดน่าน.” วิทยุชุมชน : คลื่นหนุนการสร้างพลังให้ท้องถิ่น. กาญจนา แก้วเทพ บรรณาธิการ. สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) หน้า 251-281.
ความเชี่ยวชาญและความสนใจ
  • วาทนิเทศ / วาทวิทยา
  • การวิจัยเชิงคุณภาพ
  • การสื่อสารชุมชนและการสื่อสารภาคพลเมือง
  • การสื่อสารกับกลุ่มคนชายขอบต่างๆ (เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาสต่างๆ ในสังคม ฯลฯ)
  • การสื่อสารกับสื่อสาธารณะ
  • สื่อสารศึกษาในบริบทโลกาท้องถิ่นภิวัฒน์
  • การศึกษาเชิงชาติพันธุ์วรรณนาออนไลน์
  • วัฒนธรรมศึกษา
ที่ปรึกษานิสิตรางวัล
  • พ.ศ. 2561 – 2562 : รางวัลชมเชย โครงการสิงห์สร้างสรรค์คนทีวีปี 13 (ประกวด VLOG)
  • พ.ศ. 2560 - 2561 : ชนะเลิศ โครงการ DocAlert ปีที่ 2 (ประกวดผลิตสารคดีสั้น 20 นาที)
  • พ.ศ. 2560 – 2561 : ชนะเลิศ โครงการสิงห์สร้างสรรค์คนทีวีปี 12 (ประกวดสารคดีเชิงข่าวขนาดสั้น 3 นาที)
  • พ.ศ. 2560 – 2561 : บทสารคดียอดเยี่ยม โครงการสิงห์สร้างสรรค์คนทีวีปี 12 (ประกวดสารคดีเชิงข่าวขนาดสั้น 3 นาที)
  • พ.ศ. 2559 – 2560 : 8 ทีมสุดท้ายระดับประเทศ โครงการสิงห์สร้างสรรค์คนทีวีปีที่ 11
  • พ.ศ. 2558 : ชนะเลิศ โครงการประกวดภาพยนตร์สั้น โครงการ 2015 UNFPA Fair Short Film Competition จัดโดย United Nation Population Fund (UNFPA, Thailand)