ประวัติของคณะฯ

วันที่ 1 ตุลาคม 2546 คณะอนุกรรมการสถาบันประจำมหาวิทยาลัย
(อ.ก.ม.) เห็นชอบให้จัดตั้ง คณะใหม่ คือคณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ (ชื่อเดิมของคณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร) โดยแยกออกจากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์เดิม

คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • Address:99 หมู่ 9 ต.ท่าโพธิ์ อ.เมือง
    จ.พิษณุโลก 65000
  • Phone:055964949
  • Email: info_bec@nu.ac.th

Associate Professor Dr. Kittima Chanvichai

Education

<
No. Degree Major University
1 ปริญญาตรี
2 ปริญญาโท
3 ปริญญาเอก

Selected Publications

Topic

Chanvichai K. (2024). Decolonized Participatory Communication: A Study of Community Business in Rural Thai Community. Journal of Contemporary Eastern Asia Vol. 23, No. 2: 35-51 DOI: 10.17477/jcea.2024.23.2.035.
การสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยการสร้างความเป็นตัวตนที่แท้จริงให้กับอาหารท้องถิ่นผ่านการเล่าเรื่อง.วารสารคณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร, 2562. (TCI กลุ่ม 1)
การบริหารสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยช่อง 11 (NBT) ในยุคทีวีดิจิทัล กรณีศึกษา: เขต 3 จังหวัดเชียงใหม่และเขต 4 จังหวัดพิษณุโลก. วารสารคณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร, 13(3), กันยายน – ธันวาคม 2561. (TCI กลุ่ม 1)
ศักยภาพในการสื่อสารด้วยความตลก ของ “จำอวดหน้าม่าน”. วารสารคณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร, 11(พิเศษ), 21-28. (TCI กลุ่ม 1)
จำอวดหน้าม่าน ความตลกกับการสื่อสารเพื่อทำหน้าที่สืบทอดวัฒนธรรมไทย. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ภาษาและวัฒนธรรม : อำนาจไร้พรมแดน ภาษา วัฒนธรรม การสื่อสารและอำนาจในชีวิตประจำวัน; 27 กรกฎาคม 2558; มหาวิทยาลัยมหิดล. กรุงเทพฯ, มหาวิทยาลัยมหิดล; 2558, 882– 897.

The Production Process, the Story Selection and the Use of Thai Language of NHK WORLD RADIO JAPAN’s Thai Section”. Proceedings of International Academic Conference on Social Sciences. October 15 -17, 2014 Osaka, Japan 2014, pp. 458-475.
สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทยช่อง 11 : การบริหารจัดการ และการทำหน้าที่ของสื่อมวลชน.วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร, 9(2), 5-17. (TCI กลุ่ม 1)
Interests

การบริหารงานสื่อสารมวลชน 


สื่อพื้นบ้าน


การบริหารชื่อเสียงองค์กร


การสื่อสารเพื่อบริหารความสัมพันธ์

Research

No Topic
1 สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทยช่อง 11 กับการปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการ 
2 เพลงพื้นบ้านในจังหวัดพิษณุโลกในมิติของการสื่อสารทางวัฒนธรรม 
3 การบริหารความสัมพันธ์ : ประโยชน์ในการจัดการสื่อสารองค์กร 
4 จำอวดหน้าม่าน ความตลก กับการสื่อสารเพื่อทำหน้าที่สืบทอดวัฒนธรรมไทย (Jam-aud : Clown and cultural transmission) 
5 การสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยการพัฒนาความเป็นตัวตนที่แท้จริงให้กับอาหารท้องถิ่น ในอำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ ผ่านการเล่าเรื่อง 
6 การบริหารชื่อเสียงองค์กร กรณีศึกษา บริษัท ปตท. จำกัด มหาชน. วารสารคณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร, 15(2), กันยายน – ธันวาคม 2564. 
7 พีรญา รัตนจันท์วงศ์, กิตติมา ชาญวิชัย และ อัจฉรา ศรีพันธ์ (2567). รูปแบบการสื่อสารเพื่อ การพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่องรุ่นใหม่จังหวัดเชียงราย. วารสารบัณฑิตแสงโคมคำ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 9(1), มกราคม - เมษายน 2567. 
8 พัทธนันท์ เด็ดแก้ว, กิตติมา ชาญวิชัย. (2024). คุณสมบัติของ Instafamous ผู้ที่มีชื่อเสียง ทางสื่อสังคมออนไลน์. วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา, 18(2).เมษายน-มิถุนายน 2567. 
9 ทรงพล ชุมนุมวัฒน์ และ กิตติมา ชาญวิชัย, (2567). The Digital Content on Social Media for Tourism Promotion of Wang Krod Community, Phichit. Journal of Business, Innovation and Sustainability,19(4), ตุลาคม – ธันวาคม 2567.  

Train

No. Topic Place Date
1 ฝึกอบรมวิจัย กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น 1 ก.ย. 2556 ถึง  28 ก.พ. 2557