วันที่ 1 ตุลาคม 2546 คณะอนุกรรมการสถาบันประจำมหาวิทยาลัย
(อ.ก.ม.) เห็นชอบให้จัดตั้ง คณะใหม่ คือคณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ (ชื่อเดิมของคณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร) โดยแยกออกจากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์เดิม
ที่ | ระดับการศึกษา | วุฒิการศึกษา | สถานที่ |
---|---|---|---|
1 | ปริญญาตรี | ศศ.บ.การสื่อสารมวลชน | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
2 | ปริญญาโท | นศ.ม.นิเทศศาสตรพัฒนาการ | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
3 | ปริญญาเอก | ปร.ด.การสื่อสารมวลชน | มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ |
เรื่อง |
---|
การสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยการสร้างความเป็นตัวตนที่แท้จริงให้กับอาหารท้องถิ่นผ่านการเล่าเรื่อง.วารสารคณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร, 2562. (TCI กลุ่ม 1) |
การบริหารสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยช่อง 11 (NBT) ในยุคทีวีดิจิทัล กรณีศึกษา: เขต 3 จังหวัดเชียงใหม่และเขต 4 จังหวัดพิษณุโลก. วารสารคณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร, 13(3), กันยายน – ธันวาคม 2561. (TCI กลุ่ม 1) |
ศักยภาพในการสื่อสารด้วยความตลก ของ “จำอวดหน้าม่าน”. วารสารคณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร, 11(พิเศษ), 21-28. (TCI กลุ่ม 1) |
จำอวดหน้าม่าน ความตลกกับการสื่อสารเพื่อทำหน้าที่สืบทอดวัฒนธรรมไทย. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ภาษาและวัฒนธรรม : อำนาจไร้พรมแดน ภาษา วัฒนธรรม การสื่อสารและอำนาจในชีวิตประจำวัน; 27 กรกฎาคม 2558; มหาวิทยาลัยมหิดล. กรุงเทพฯ, มหาวิทยาลัยมหิดล; 2558, 882– 897. |
สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทยช่อง 11 : การบริหารจัดการ และการทำหน้าที่ของสื่อมวลชน.วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร, 9(2), 5-17. (TCI กลุ่ม 1) |
The Production Process, the Story Selection and the Use of Thai Language of NHK WORLD RADIO JAPAN’s Thai Section”. Proceedings of International Academic Conference on Social Sciences. October 15 -17, 2014 Osaka, Japan 2014, pp. 458-475. |
ความเชี่ยวชาญ/ความสนใจ |
---|
การบริหารงานสื่อสารมวลชน สื่อพื้นบ้าน การบริหารชื่อเสียงองค์กร การสื่อสารเพื่อบริหารความสัมพันธ์ |